วันที่ 29 พฤศจิกายน 2555
วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
EAED 2204 เวลา 8.30 - 12.20 น กลุ่มเรียน 103
อาจารย์ท่านได้อธิบายเนื้อหาเรื่องมาตราฐานในชีวิตประจำวันโดยดิฉันได้สรุปลง mind map ดังนี้
สัปดาห์นี้อาจารย์ได้ให้จับคู่กลุ่มเดิมจากสัปดาห์ที่แล้ว เพื่อออกมานำเสนองานที่ได้ทำไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วกุ่มดิฉันได้หัวข้อที่ 6 เรื่องการจัดลำดับ
กลุ่มอันอันและบุ๋ม
1. การนับ
สอนให้นับสัตว์ในสวนสัตว์ว่ามีสัตว์กี่ตัว โดยใช้ตัวเลขแทนค่าจำนวน
กลุ่มม๋วย
2. ตัวเลข
แทนค่าโดยการจัดลำดับที่
กลุ่มต๋อมแต๋ม
3. จับคู่
จับคู่สัคว์บก - สัตว์น้ำ โดยมีทิศทาง ตำแหน่ง วงจร ระหว่าง
กลุ่มดาด้า
4. จัดประเภท
นำสัตว์ทั้งหมดมารวมกันและแบ่งโดยว่า สัตว์แต่ละตัวอยู่ประเภทใด มีกี่ตัว โดยใช้เกณฑ์สัคว์บก - สัตว์น้ำในการแบ่ง
กลุ่มพราว
5. การเปรียบเทียบ
เปรียบเทียบสัคว์บก - สัตว์น้ำ โดยสังเกตความแตกต่างของสัตว์แต่ละชนิด และนับจำนวน
กลุ่มออยและแกน
6. จัดลำดับ
โดยเรียงสัตว์จากตัวเล็กไปหาตัวใหญ่ โดยใช้เกณฑ์วัดส่วนสูงของสัตว์ทั้งหมด
กลุ่มกิ๊ฟ
7. รูปทรงและพื้นที่
เปรียบเทียบสัตว์จากเนื้อที่และขนาดของที่อยู่อาสัยของสัตว์
8. การวัด
วัดโดยปริมาณอาหารที่สัตว์กินไปมีปริมาณเท่าไร และชั่งน้ำหนักหาค่าปริมาณ
9. เซต
แบ่งสัตว์กินพืชและสัตว์ที่กินเนื้อ และแบ่งชนิดว่าสัตว์ตัวไหนกินเหมือนกัน แล้วแบ่งกลุ่ม
กลุ่มซาร่า
10. เศษส่วน
แบ่งสัตว์มี 2 กลุ่มเท่าๆกัน เช่น มีสัตว์ 20 ตัว แบ่งเท่าๆกัน เป็น 2 กลุ่ม
11. ทำตามแบบหรือลวดลาย
จัดกิจกรรมโดยเรียงลำดับรูปจากสัตว์ตัวเล็กไปหาสัตว์ตัวใหญ่
12. การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ
นำดินน้ำมันที่มีขนาดเท่าๆกัน 2 ก้อน มาปั้นเป็นรูปสัตว์อะไรก็ได้ อย่างละ 1 ตัว ที่มีขนาดปริมาณดินน้ำมันเท่าๆ กัน
กลุ่มตาล
1. การนับ
นับผักในตะกร้าว่าผักมีกี่ชนิด กี่จำนวน
กลุ่มมายด์
2. ตัวเลข
นับผักว่ามีกี่จำนวน
กลุ่มโบว์
3. จับคู่
โดยเอาจำนวนตัวเลขมาวางหน้าผักแต่ละชนิด และให้เด็กๆนำตัวเลขที่คุณครูเตรียมไว้มาวางให้ตรงกับจำนวนตัวเลขหน้าผักชนิดนั้น
กลุ่มนาเดียร์
4. จัดประเภท
เกณฑ์ 1 ผักใบเขียว
เกณฑ์ 2 ผักที่ไม่ใช่ผักใบเขียว
โดยให้เด็กนำผักแต่ละชนิด หยิบมาวางลงในตะกร้าที่กำหนด แต่ก่อนที่จะให้เด็กๆนำผักหยิบลงตะกร้าคุณครูก็ต้องสอนผักแต่ละชนิดก่อนว่า ผักไหนเป็นผักใบเขียวและที่ไม่ใช่ผักใบเขียว
กลุ่มกวาง
5. การเปรียบเทียบ
เปรียบเทียบขนาด รูปทรง ว่ามีลักษณะอย่างไร
กลุ่มปริม
6. จัดลำดับ
จัดลำดับของผักจากความสั้นไปหายาว และเรียงลำดับการหาค่า โดยการวัดและเปรียบเทียบ
7. รูปทรงและพื้นที่
นำผักมาใส่ตะกร้าสีเหลี่ยม ว่าผักกี่ชิ้นจะใส่ตะกร้าได้พอดี และได้ผักจำนวนเท่าไร